How FATCA effect to American Citizen and Green Card holder whom have investment and saving account out side the state.
ผู้ถือ Green Card และ ได้ American Citizen ส่งผลกับธุรกรรมการเงินการลงทุน อย่างไร
3 ปีที่ผ่านมา ทาง The State ได้มีการของให้สถานบันการเงินในประเทศต่าง ทำการตรวจสอบารเปิดบัญชีและการทำธุรกรรมทางการเงินของ American Citizen และผู้ถือ Green Card ในแบบฟอร์มที่เรียกว่า "FATCA" ทุกครั้งที่มีการเปิดบัญชีเงินฝาก หรือ เปิดบัญชีลงทุนในหุ้น , กองทุนรวม (Muatual Fund) , และ กองทุนส่วนบุคคล (Private Fund)
Q: จะเกิดอะไรขึ้น หากวันหนึ่งคุณแต่งงานกับ American Citizen ถือ Green Card แล้วเดินไปเปิดบัญชีเงินฝากธนาคารในไทย ?
A: พนักงานธนาคารจะให้คุณกรอกแบบฟอร์มเปิดบัญชีธนาคาร พร้อมแนบเอกสาร FATCA มาให้ ซื้อคุณต้องกรอกตามความเป็นจริง
What's Next : ในหลายธนาคารในไทย พอทราบว่าลูกค้าที่เข้ามาเปิดบัญชีใหม่กับ ธนาคารถือ Green Card และ เป็น American Citizen จะปฏิเสธการเปิดบัญชีให้ลูกค้าท่านนั้นทันที สาเหตุเพราะธนาคารในไทยยังไม่มีระบบรองรับการนำส่งข้อมูลรายได้จากการลงทุน ของคนไทยที่มี Green Card และ American Citizen ไปให้ IRS
Q: แล้วจะกระทบต่อคนไทยที่เคยเปิดบัญชีธนาคารเดิมในไทยอยู่แล้ว แล้วได้ Green Card หรือ American Citizen ในภายหลังหรือไม่
A:
BEST CASE: หากทางสถาบันการเงินไม่ได้ทำการขอให้คุณ Update KYC ทุก 2 ปี ไม่มีปัญหา
BASE CASE : ทางสถาบันการเงินได้ทำการขอให้คุณ Update KYC ทุก 2 ปี และคุณต้องรายงานในแบบฟอร์ม FATCA ตามตรงว่ามีความเป็นบุคคลอเมริกัน (มี Green Card หรือ เป็น American Citizen) แต่ทางสถาบันการเงินไม่ได้ขอให้คุณปิดบัญชี ทางสถาบันการเงินจะรายงานรายได้จากการลงทุนของคุณ ตามที่ The State ได้กำหนดไปที่ IRS
ในส่วนของตัว American Citizen และผู้ถือ Green Card เอง เมื่อถึงเวลา File Tax คุณเองต้องรายงานรายได้ให้ IRS จากการลงทุน และเงินฝากในธนาคารในไทยตามความเป็นจริง (ไม่ควรรายงานเท็จค่ะ ใครFile TAX มานานจะทราบถึงความโหดร้ายของ IRS เป็นอย่างดี)
WORST CASE : ทางสถาบันการเงินได้ทำการขอให้คุณ Update KYC ทุก 2 ปี คุณมี 2 ทางเลือก
- กรณียังพำนักอยู่ในอเมริกา : ให้รายงาน FATCA ตามความเป็นจริง หากสถาบันการเงินในไทยแจ้งให้ปิดบัญชี เนื่องจากบัญชี inactive มานาน ก็ทำการปิดบัญชีในไทยค่ะ
- กรณีย้ายกลับมาไทยถาวร แต่เคยมี Green Card : สามารถไปทำเรื่องยกเลิกการถือ Green Card ได้ที่ตึกสินธร ตรงข้าม US Embassy หลังจากนั้นจึงแจ้งสถาบันการเงินไปค่ะ
Example : นางสาว A แต่งงานกับคนอเมริกัน และถือกรีนการ์ด อเมริกาอยู่ แต่กฎหมาย FATCA กำลังส่งผลกระทบกับชีวิต เพราะหากเรามีเงินฝากในธนาคาร หรือกองทุน หรือรายได้อื่นๆ เมื่อรวมกันแล้วเกิน 1.5 ล้านบาท เราต้องเสียภาษีให้รัฐบาลอเมริกาด้วยหรือคะ?
Answer : ไม่เพียงแต่การมีสัญชาติอเมริกันหรือการจดทะเบียนจัดตั้งในสหรัฐฯเท่านั้นที่จะถือว่าเป็นบุคคลหรือนิติบุคคลของสหรัฐฯตามหลักเกณฑ์ FATCA จะหมายรวมถึงผู้ที่มีที่อยู่ในสหรัฐฯ ผู้ที่ถือกรีนการ์ด หรือบริษัทที่ถือหุ้นโดยบุคคลของสหรัฐฯ เกินกว่า 10% อีกด้วย" (นายวรฤทธิ์ วรรณวาณิชย์ ธปท.)
Q: หากเราย้ายกลับไปอยู่ไทย และยกเลิกกรีนการ์ด ทางอเมริกายังจะเก็บภาษีจากรายได้ที่เกิดในไทยได้อีกไหม๊คะ? (เพราะเราจดทะเบียนสมรสกับคนอเมริกัน ซึ่งกฎหมายถือว่าเป็นคนๆ เดียวกัน ) หรือถึงกับต้องจดทะเบียนหย่ากับสามีชาวอเมริกันเพื่อเราจะได้ไม่ต้องเสียภาษีที่ไม่เป็นธรรมนี้หรือคะ?
A: "หากลูกค้าไม่ใช่บุคคลอเมริกันหรือไม่มีข้อบ่งชี้ว่าอาจเป็นบุคคลอเมริกัน ลูกค้าไม่ต้องดําเนินการใด ๆ เพิ่มเติม แต่หากลูกค้าเป็นบุคคล
อเมริกันหรือมีข้อบ่งี้ว่าอาจเป็นบุคคลอเมริกัน ลูกค้ามีหน้าที่ต้องกรอกแบบฟอร์มตามกฎหมาย FATCA เพือยืนยันสถานะตนเอง ทั้งนี้การพิจารณาว่าเป็นบุคคลอเมริกันนั้น มิใช่พิจารณาเฉพาะสัญชาติอเมริกันเท่านั้น ลูกค้าอาจมีข้อบ่งชี้ว่าที่เป็นบุคคลอเมริกันได้เช่น เกิดที่สหรัฐอเมริกา มีถิ่นที่อยู่ถาวรในสหรัฐอเมริกา หรือเป็่นบริษัทที่มีข้อมูลบ่งชี้ได้ว่ามีความเกี่ยวพันกับสหรัฐอเมริกาซึ่งมีบุคคลหรือนิติบุคคลอเมริกัน เป็นผู้ถือหุ้นไม่ว่าทางตรงหรือทางอ้อม ในสดสัวนของหุ้นรวมกันเกินกว่า 10% เป็นต้น" (Nomura)
กรณีย้ายกลับไทย ยกเลิกกรีนการ์ดที่ตึกสินธรได้ หรือหย่าทางกฎหมาย จะไม่ต้องเสียภาษี FATCA
ทั้งนี้คุณแต่งงาน มีกรีนการ์ด ถือว่าเป็นคนอเมริกันมีส่วนเกี่ยวข้อง ทำให้รายได้นอกสหรัฐฯโดนเก็บภาษี
ประสบการณ์ส่วนตัว ตอน File TAX
ไม่ว่าจะ File Joint หรือ File Saperate กับสามี American Citizen จะมีคำถามที่ต้องตอบตัวเอง ก่อนเริ่ม File Tax ดังนี้
1 คุณมีรายได้ในอเมริกาเท่าไหร่
2 คุณมีรายได้ทางอื่นในอเมริกาหรือไม่ (Partnership)
3 คุณมีรายได้จากการลงทุนในหุ้น หรือกองทุนในอเมริกาหรือไม่
4 คุณมีเงินฝากในบัญชีธนาคารในต่างประเทศเกิน 20,000 USD หรือไม่
ที่มา :
http://www.bot.or.th/Thai/ResearchAndPublications/DocLib_/article_27_06_57.pdf
3 ปีที่ผ่านมา ทาง The State ได้มีการของให้สถานบันการเงินในประเทศต่าง ทำการตรวจสอบารเปิดบัญชีและการทำธุรกรรมทางการเงินของ American Citizen และผู้ถือ Green Card ในแบบฟอร์มที่เรียกว่า "FATCA" ทุกครั้งที่มีการเปิดบัญชีเงินฝาก หรือ เปิดบัญชีลงทุนในหุ้น , กองทุนรวม (Muatual Fund) , และ กองทุนส่วนบุคคล (Private Fund)
FATCA กำหนดข้อบ่งชี้ว่าลูกค้าอาจเป็นบุคคลธรรมดาหรือนิติบุคคลอเมริกัน มีดังนี้ [ธนชาต]
กรณีบุคคลธรรมดา
• มีสัญชาติอเมริกัน / เกิดที่สหรัฐอเมริกา / มีที่อยู่ถาวรในสหรัฐอเมริกา
• มีที่อยู่ปัจจุบัน หรือที่อยู่เพื่อการติดต่อ หรือที่อยู่เพื่อรับส่งไปรษณีย์แทน ในสหรัฐอเมริกา
• มีที่อยู่ชั่วคราวในสหรัฐอเมริกา หรือ เคยอาศัยอยู่ในอเมริกาเกินกว่า 183 วัน
• มีหมายเลขโทรศัพท์ในสหรัฐอเมริกา
• มีการมอบอำนาจให้บุคคลอื่นที่มีที่อยู่ในสหรัฐอเมริกา ดำเนินการเกี่ยวข้องกับบัญชีแทน
• มีการทำคำสั่งทำรายการโอนเงินเป็นประจำไปยังบัญชีที่อยู่ในสหรัฐอเมริกา
Q: จะเกิดอะไรขึ้น หากวันหนึ่งคุณแต่งงานกับ American Citizen ถือ Green Card แล้วเดินไปเปิดบัญชีเงินฝากธนาคารในไทย ?
A: พนักงานธนาคารจะให้คุณกรอกแบบฟอร์มเปิดบัญชีธนาคาร พร้อมแนบเอกสาร FATCA มาให้ ซื้อคุณต้องกรอกตามความเป็นจริง
What's Next : ในหลายธนาคารในไทย พอทราบว่าลูกค้าที่เข้ามาเปิดบัญชีใหม่กับ ธนาคารถือ Green Card และ เป็น American Citizen จะปฏิเสธการเปิดบัญชีให้ลูกค้าท่านนั้นทันที สาเหตุเพราะธนาคารในไทยยังไม่มีระบบรองรับการนำส่งข้อมูลรายได้จากการลงทุน ของคนไทยที่มี Green Card และ American Citizen ไปให้ IRS
Q: แล้วจะกระทบต่อคนไทยที่เคยเปิดบัญชีธนาคารเดิมในไทยอยู่แล้ว แล้วได้ Green Card หรือ American Citizen ในภายหลังหรือไม่
A:
BEST CASE: หากทางสถาบันการเงินไม่ได้ทำการขอให้คุณ Update KYC ทุก 2 ปี ไม่มีปัญหา
BASE CASE : ทางสถาบันการเงินได้ทำการขอให้คุณ Update KYC ทุก 2 ปี และคุณต้องรายงานในแบบฟอร์ม FATCA ตามตรงว่ามีความเป็นบุคคลอเมริกัน (มี Green Card หรือ เป็น American Citizen) แต่ทางสถาบันการเงินไม่ได้ขอให้คุณปิดบัญชี ทางสถาบันการเงินจะรายงานรายได้จากการลงทุนของคุณ ตามที่ The State ได้กำหนดไปที่ IRS
ในส่วนของตัว American Citizen และผู้ถือ Green Card เอง เมื่อถึงเวลา File Tax คุณเองต้องรายงานรายได้ให้ IRS จากการลงทุน และเงินฝากในธนาคารในไทยตามความเป็นจริง (ไม่ควรรายงานเท็จค่ะ ใครFile TAX มานานจะทราบถึงความโหดร้ายของ IRS เป็นอย่างดี)
WORST CASE : ทางสถาบันการเงินได้ทำการขอให้คุณ Update KYC ทุก 2 ปี คุณมี 2 ทางเลือก
- กรณียังพำนักอยู่ในอเมริกา : ให้รายงาน FATCA ตามความเป็นจริง หากสถาบันการเงินในไทยแจ้งให้ปิดบัญชี เนื่องจากบัญชี inactive มานาน ก็ทำการปิดบัญชีในไทยค่ะ
- กรณีย้ายกลับมาไทยถาวร แต่เคยมี Green Card : สามารถไปทำเรื่องยกเลิกการถือ Green Card ได้ที่ตึกสินธร ตรงข้าม US Embassy หลังจากนั้นจึงแจ้งสถาบันการเงินไปค่ะ
Example : นางสาว A แต่งงานกับคนอเมริกัน และถือกรีนการ์ด อเมริกาอยู่ แต่กฎหมาย FATCA กำลังส่งผลกระทบกับชีวิต เพราะหากเรามีเงินฝากในธนาคาร หรือกองทุน หรือรายได้อื่นๆ เมื่อรวมกันแล้วเกิน 1.5 ล้านบาท เราต้องเสียภาษีให้รัฐบาลอเมริกาด้วยหรือคะ?
Answer : ไม่เพียงแต่การมีสัญชาติอเมริกันหรือการจดทะเบียนจัดตั้งในสหรัฐฯเท่านั้นที่จะถือว่าเป็นบุคคลหรือนิติบุคคลของสหรัฐฯตามหลักเกณฑ์ FATCA จะหมายรวมถึงผู้ที่มีที่อยู่ในสหรัฐฯ ผู้ที่ถือกรีนการ์ด หรือบริษัทที่ถือหุ้นโดยบุคคลของสหรัฐฯ เกินกว่า 10% อีกด้วย" (นายวรฤทธิ์ วรรณวาณิชย์ ธปท.)
Q: หากเราย้ายกลับไปอยู่ไทย และยกเลิกกรีนการ์ด ทางอเมริกายังจะเก็บภาษีจากรายได้ที่เกิดในไทยได้อีกไหม๊คะ? (เพราะเราจดทะเบียนสมรสกับคนอเมริกัน ซึ่งกฎหมายถือว่าเป็นคนๆ เดียวกัน ) หรือถึงกับต้องจดทะเบียนหย่ากับสามีชาวอเมริกันเพื่อเราจะได้ไม่ต้องเสียภาษีที่ไม่เป็นธรรมนี้หรือคะ?
A: "หากลูกค้าไม่ใช่บุคคลอเมริกันหรือไม่มีข้อบ่งชี้ว่าอาจเป็นบุคคลอเมริกัน ลูกค้าไม่ต้องดําเนินการใด ๆ เพิ่มเติม แต่หากลูกค้าเป็นบุคคล
อเมริกันหรือมีข้อบ่งี้ว่าอาจเป็นบุคคลอเมริกัน ลูกค้ามีหน้าที่ต้องกรอกแบบฟอร์มตามกฎหมาย FATCA เพือยืนยันสถานะตนเอง ทั้งนี้การพิจารณาว่าเป็นบุคคลอเมริกันนั้น มิใช่พิจารณาเฉพาะสัญชาติอเมริกันเท่านั้น ลูกค้าอาจมีข้อบ่งชี้ว่าที่เป็นบุคคลอเมริกันได้เช่น เกิดที่สหรัฐอเมริกา มีถิ่นที่อยู่ถาวรในสหรัฐอเมริกา หรือเป็่นบริษัทที่มีข้อมูลบ่งชี้ได้ว่ามีความเกี่ยวพันกับสหรัฐอเมริกาซึ่งมีบุคคลหรือนิติบุคคลอเมริกัน เป็นผู้ถือหุ้นไม่ว่าทางตรงหรือทางอ้อม ในสดสัวนของหุ้นรวมกันเกินกว่า 10% เป็นต้น" (Nomura)
กรณีย้ายกลับไทย ยกเลิกกรีนการ์ดที่ตึกสินธรได้ หรือหย่าทางกฎหมาย จะไม่ต้องเสียภาษี FATCA
ทั้งนี้คุณแต่งงาน มีกรีนการ์ด ถือว่าเป็นคนอเมริกันมีส่วนเกี่ยวข้อง ทำให้รายได้นอกสหรัฐฯโดนเก็บภาษี
ประสบการณ์ส่วนตัว ตอน File TAX
ไม่ว่าจะ File Joint หรือ File Saperate กับสามี American Citizen จะมีคำถามที่ต้องตอบตัวเอง ก่อนเริ่ม File Tax ดังนี้
1 คุณมีรายได้ในอเมริกาเท่าไหร่
2 คุณมีรายได้ทางอื่นในอเมริกาหรือไม่ (Partnership)
3 คุณมีรายได้จากการลงทุนในหุ้น หรือกองทุนในอเมริกาหรือไม่
4 คุณมีเงินฝากในบัญชีธนาคารในต่างประเทศเกิน 20,000 USD หรือไม่
ที่มา :
http://www.bot.or.th/Thai/ResearchAndPublications/DocLib_/article_27_06_57.pdf
ฝากไว้ตรงนี้นะค่ะ
Kennedy: “Don’t ask what the country can do for you, ask what you can do for your country”
Comments
Post a Comment